ยินดีต้อนรับคุณ บุคคลทั่วไป  
ค้นหา   
นายก อบจ.ขอนแก่น

นายพงษ์ศักดิ์ ตั้งวานิชกพงษ์
นายก อบจ.ขอนแก่น

เมนูหลัก
คลังเก็บรูปภาพ
ระบบสารสนเทศ
โรงเรียนเมืองพลพิทยาคม
โรงเรียนบ้านคูขาด (สถิตย์อุปถัมภ์)
โรงเรียนบ้านหนองเสี้ยว
โรงเรียนแท่นศิลาทิพย์ศึกษา
โรงเรียนศรีเสมาวิทยาเสริม
โรงเรียนพิศาลปุณณวิทยา
โรงเรียนซำสูงพิทยาคม
โรงเรียนพระธาตุขามแก่นพิทยาลัย
โรงเรียนหนองโนประชาสรรค์
โรงเรียนพูวัดพิทยาคม
โรงเรียนโคกสูงประชาสรรค์
โรงเรียนโนนหันวิทยายน
โรงเรียนสีชมพูศึกษา
โรงเรียนมัธยมหนองเขียด
โรงเรียนโนนโพธิ์ศรีวิทยาคม
โรงเรียนพระยืนวิทยาคาร
โรงเรียนซับสมบูรณ์พิทยาลัย
โรงเรียนเปรมติณสูลานนท์
โรงเรียนนางิ้ววิทยาสรรค์
โรงเรียนบ้านบะแค
โปรแกรมดูผลการเรียนนักเรียนรายบุคคล
เว็บไซด์โรงเรียนในสังกัด
ฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น
โรงเรียนพอเพียงท้องถิ่น
โรงเรียนเมืองพลพิทยาคม
โรงเรียนบ้านคูขาด (สถิตย์อุปถัมภ์)
โรงเรียนบ้านหนองเสี้ยว
โรงเรียนแท่นศิลาทิพย์ศึกษา
โรงเรียนศรีเสมาวิทยาเสริม
โรงเรียนพิศาลปุณณวิทยา
โรงเรียนซำสูงพิทยาคม
โรงเรียนพระธาตุขามแก่นพิทยาลัย
โรงเรียนหนองโนประชาสรรค์
โรงเรียนพูวัดพิทยาคม
โรงเรียนโคกสูงประชาสรรค์
โรงเรียนโนนหันวิทยายน
โรงเรียนสีชมพูศึกษา
โรงเรียนมัธยมหนองเขียด
โรงเรียนโนนโพธิ์ศรีวิทยาคม
โรงเรียนพระยืนวิทยาคาร
โรงเรียนซับสมบูรณ์พิทยาลัย
โรงเรียนเปรมติณสูลานนท์
โรงเรียนนางิ้ววิทยาสรรค์
โรงเรียนบ้านบะแค

  

งานวิจัยการศึกษา
    เรื่อง : การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) ชุด การปลูกพืชผักสวนครัวตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณเพื่อการดำรงชีพในศตวรรษที่ 21 สำหรับนักเรียนชั้นมั

เจ้าของผลงาน : นางสาวนงค์รักษ์ ลีสี
พุธ ที่ 12 เดือน สิงหาคม พ.ศ.2563
เข้าชม : 2246    จำนวนการดาวน์โหลด : 321 ครั้ง
5 stars เฉลี่ย : 5 จาก 3 ครั้ง.

บทคัดย่อ :
บทคัดย่อ
 
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบ  การจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book)     ชุดการปลูกพืชผักสวนครัวตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณเพื่อการดำรงชีพในศตวรรษที่ 21 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 (2) เพื่อออกแบบและพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) ชุดการปลูกพืชผักสวนครัวตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณเพื่อการดำรงชีพในศตวรรษที่ 21 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 (3) เพื่อทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) ชุดการปลูกพืชผักสวนครัวตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณเพื่อการดำรงชีพในศตวรรษที่ 21 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 (3.1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน ที่เรียนรู้ด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) ชุดการปลูกพืชผักสวนครัวตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณเพื่อการดำรงชีพในศตวรรษที่ 21 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 (3.2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ก่อนเรียนและหลังเรียน ที่เรียนรู้ด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book)     ชุดการปลูกพืชผักสวนครัวตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณเพื่อการดำรงชีพในศตวรรษที่ 21 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และ      (4) เพื่อประเมินความพึงพอใจของนักเรียน ที่มีต่อการเรียนรู้ด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) ชุดการปลูกพืชผัก      สวนครัวตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณเพื่อการดำรงชีพในศตวรรษที่ 21 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1  โรงเรียนซับนกแก้ววิทยา สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดสระแก้ว ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 33 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม      (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1)  คู่มือการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) ชุดการปลูกพืชผัก    สวนครัวตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณเพื่อการดำรงชีพในศตวรรษที่ 21 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 1 เล่ม     ใช้คู่กับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) ชุดการปลูกพืชผักสวนครัวตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E)  (2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 30 มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.825 (3) แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จำนวน 30 ข้อ (4) แบบประเมินหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ จำนวน 20 ข้อ (5) แบบสอบถามความพึงพอใจ เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale)     5 ระดับ จำนวน 20 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติการทดสอบค่าที t-test (Dependent Samples)
 
ผลการวิจัยพบว่า
            1. ผลการวิเคราะห์สภาพปัญหาและแนวทางการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) ชุด การปลูกพืชผักสวนครัวตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณเพื่อการดำรงชีพในศตวรรษที่ 21 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนซับนกแก้ววิทยา     ที่เกี่ยวกับวิธีสอนแบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) ที่มุ่งเน้นการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทาง      การเรียน ความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และความพึงพอใจในการเรียนรู้ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) ซึ่งใช้แบบประเมินค่าดัชนีความสอดคล้อง ทั้งแบบวิเคราะห์เอกสาร และแบบสัมภาษณ์จากผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 ท่าน พบว่า มีความสอดคล้อง โดยมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 1.00 ทุกรายการ
  2. รูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) ชุด การปลูกพืชผักสวนครัวตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง       เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณเพื่อการดำรงชีพในศตวรรษที่ 21 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีประสิทธิภาพโดยรวม 88.90/93.98 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้
  3. นักเรียนกลุ่มตัวอย่าง ที่เรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) ชุด การปลูกพืชผักสวนครัวตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณเพื่อการดำรงชีพในศตวรรษที่ 21 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
   4.  นักเรียนกลุ่มตัวอย่าง ที่เรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) ชุด การปลูกพืชผักสวนครัวตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณเพื่อการดำรงชีพในศตวรรษที่ 21 มีความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญ     ทางสถิติที่ระดับ .01
   5. นักเรียนกลุ่มตัวอย่าง ที่เรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) ชุด การปลูกพืชผักสวนครัวตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณเพื่อการดำรงชีพในศตวรรษที่ 21 มีความพึงพอใจต่อการเรียนรู้ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.38




ดาวน์โหลด  ( บทคัดย่อ) 

งานวิจัยการศึกษา 5 อันดับล่าสุด

      รายงานการประเมินโครงการส่งเสริมและพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงสู่ความยั่งยืน โรงเรียนเมืองพลพิทยาคม สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น 24/มี.ค./2567
      การพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาสู่โรงเรียนสร้างคนดีตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนมัธยมหนองเขียด 18/มี.ค./2567
      การบริหารงานวิชาการของโรงเรียนเมืองพลพิทยาคมภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาด ของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) 8/มี.ค./2567
      การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการศึกษาตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนมัธยมหนองเขียด 11/ก.พ./2567
      รายงานการประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนมัธยมหนองเขียด 11/ก.พ./2567


กำลังแสดงหน้าที่ 1/0 ->
<< 1 >>



ชื่อ/Email :
ใส่รหัสที่ท่านเห็นลงในช่องนี้
ความคิดเห็น :


กรุณาใช้คำพูดที่สุภาพ และอย่าใช้คำพูดที่พาดพิงถึงบุคคลอื่นให้เสียหาย ขอขอบคุณที่ให้ความร่วมมือ


ข้อความที่ท่านได้อ่าน เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชน และส่งขึ้นมาแบบอัตโนมัติ เจ้าของระบบไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือ ชื่อผู้เขียนที่ได้เห็นคือชื่อจริง ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม กรุณาแจ้งที่ wiscn@live.com เพื่อให้ผู้ควบคุมระบบทราบและทำการลบข้อความนั้น ออกจากระบบต่อไป